4
2
0
เดิน 2-นาที จาก สถานี BTS สนามกีฬาแห่งชาติ ทางออก 3
อ่านต่อ
เบอร์โทร.
081-917-2131
เวลาเปิด-ปิด
วันนี้
10:00 - 20:00
จันทร์ - อาทิตย์
10:00 - 20:00
ข้อมูลข้างต้นใช้เพื่ออ้างอิงเท่านั้น กรุณาตรวจสอบข้อมูลกับร้านอาหารอีกครั้ง
เมนูแนะนำ
เมนูแนะนำ
บทความเกี่ยวกับร้านนี้
A pioneer in the drip coffee bar in Bangkok that is revered by lots of local coffee people, the “institution” for drip coffee of sort. What I recommend here is not its drip coffee program but a rather ‘innovative’ coffee drink called iced coffee jelly that focuses more on its cold, creamy and sweet attributes in the cup than the coffee itself.Gallery Drip Coffee (GDC) is the pioneer of drip coffee in Bangkok. In the past, when anybody asked about coffee in Bangkok, this café made it to the list that I told those who are after drip coffee in Bangkok. Once I asked these people how this place is, often times, they don’t give out any meaningful comment, let alone mentioning about how the coffee is which is not a good sign no matter how you play it, IMHO. I begin to understand why any comment is not easy to come by with this visit. The strength of GDC is in its location that is very convenient as it’s very close to one of famous shopping centers in Bangkok, think Causeway Bay in Hong Kong or Orchard Road in Singapore, making it easy to find an ‘excuse/diversion’ from other regular things most tourists do for their trip to this café. I think I can say GDC is fully loaded with gears for drip coffee. Brand named hot water tower, induction stove to further regulate the temperature, the wooden drip rack that shows off various coffee funnels, be it manufactured by known corporation or hand made pieces, likely by themselves. The rows and shelves of hand cranked grinders in the shop easily reveal how obsessed owners are with this type of grinder. An artisan of sort? I’m not sure whether the “passion” for everything hand grinding carries itself well over to the main grinder used in the shop, the $$$ and famous Lyn Weber HG-1. While I saw HG-1 and drip coffee before, the burr of this grinder is from Mazzer Robur which is designed largely for espresso. Lyn Weber own website doesn’t even mention anything on drip coffee and chooses to splatter the HG-1 webpage all over on how good this HG-1 is on espresso. Espresso burr for espresso coffee, of course; espresso burr for drip, well... Not only the dubious choice of grinder but also the way they brew coffee is rather fascinating. I rarely see barista fill up the coffee ground almost to the rim of the funnel for hand drip. Most suggests the coffee ground about half the funnel and that’s why there are various funnel size just to suit the volume needed. The coffee menu is not what we are familiar with these days for third wave café. The tasting notes are mostly not there on the menu board and when they provide some, it’s rather cryptic. Throwing one of the important aspect of the transparency away or just trying to be mysteriously chic? Somehow, this feels almost an anti third wave movement in this age of sprawling seriously good coffee that is known for promoting transparency to the core on the way they run a business. Putting those ‘unique’ aspects of this café aside, let focus on the coffee. As I don’t want to bother the barista with questions on tasting notes on each and every coffee they have on the menu board to choose the coffee, I finally ended up with its pick of the day offering which is Ecuador La Conventina Typica, hoping for less chance of disappointment from its recommended coffee of the classic varietal like Typica. Coming from a lesser known country for coffee, the coffee bean itself doesn’t disappoint me. I am very happy with its sweetness and cleanliness that are all over the cup and makes a lot of sense as the coffee is of Typica varietal. The coffee is roasted darker than what I typically find in Hong Kong of local and international third wave roasters but manages to deliver quite a juicy cup. I can venture to say the drip brew skill is okay but it reminds me of yesteryears drip coffee which is too muted. Barista even goes extra mile to aerate my coffee a lot after finishing his brewing process which seems to contribute to the smoothness in the cup. Nevertheless, this smoothness seems to put an emphasis back to the weakness of that cup in the form of the dryness and astringency in the cup, particularly when the coffee is cooler. I didn’t have this type of dryness in drip brew coffee for quite some time; it’s probably stopped by barista that spot-checked the coffee by sipping some of them before it is served to me these days. But all is not lost for this visit. I was impressed by a coffee drink here which is far and away from being a coffee focus but earn its place being a good drink, particularly in the Thai concept of everything ice in the name of cooling down thing. To me, the claim of Thailand is such a hot place so we all need cool drinks doesn’t jive well with a hotter place like Singapore of which hot coffee not only survives but prospers. Nevertheless, what seems to be a national obsession with sweet and creamy thing results in the innovation in iced drinks that seems to go far beyond what I heard of from various countries, even those with hotter weather. I suggest all to be open minded and try various iced drinks offered down there i.e. as long as you don’t think of it as coffee, it will be perfectly fine. GDC has been showcasing its iced coffee jelly drink for quite some time. The coffee jelly part is at the bottom while the milk drink on top is spiked with sugar/syrup to add the sweet and creamy tone that Thai seems to fall in love with. The coffee jelly part by itself doesn’t have any distinctive taste of good coffee; don’t ask me about its aroma, acidity or sweetness as I couldn’t sense any. While I am ok having the drink separately ie the coffee jelly part first then a sip of sugar spiked milk, I was told by the shop it can be had together i.e. you should stir and break the jelly part to mix with sweetened milk drink. You can order the milk part to have no added sweetness too but I don’t know whether the creaminess in the milk will be enough to cover a rather staled coffee in the jelly. In all, this ‘institution’ on drip coffee seems to garner its reputation more as a pioneer in drip coffee in Bangkok than the drip coffee itself, IMHO. If you want to learn a history of the drip coffee in Bangkok and, maybe, to understand the state of drip coffee in Bangkok, drip coffee at GDC which is looked up by lots of local coffee people could help explain some of those things.
อ่านต่อ
Gallery กาแฟดริปตั้งอยู่บริเวณชั้น 1 หอศิลปวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร เป็นอีกร้านกาแฟที่ได้ยินคนพูดถึงมากที่สุด เคยมีเพื่อนสาวแนะนำมาเมื่อนานมาแล้วว่าต้องไปลอง แต่เราไม่ใช่คอกาแฟ แถมเดินผ่านไปทีไรคนเต็มร้านตลอด ...เพิ่งมีโอกาสได้ไปเยี่ยมเยียนในยามบ่ายของวันหนึ่ง อากาศร้อนๆ ชวนให้คิดถึงน้ำหวานเย็นๆ ก็เลยลองแวะเข้าไปชิมดูค่ะการเดินทางมายังร้านทำได้โดยการใช้รถไฟฟ้า นั่งมาลงสถานีสนามกีฬาแห่งชาติ ออกทางออกเดียวกับห้างมาบุญครองเลยค่ะ เพราะว่าหอศิลป์นั้นตั้งอยู่บริเวณตรงข้ามกับห้างมาบุญครองนั่นเอง เมื่อออกมาจากรถไฟฟ้าจะมีสกายวอล์คเชื่อมเข้าสู่หอศิลป์เลยค่ะ จากนั้นลงบันไดเลื่อนได้เลย สำหรับร้าน Gallery กาแฟดริปนั้นตัวร้านตกแต่งด้วยไม้เป็นหลัก มีที่นั่งตามมุมต่างๆ ในร้านรวมถึงมีม้านั่งหน้าเคาน์เตอร์สำหรับนั่งแอบมองการดริปกาแฟ สังเกตเห็นตาชั่งดิจิตอลตัวจิ๋ว ลองสอบถามได้ความว่าทางร้านใช้ชั่งส่วนประกอบ ทำให้กาแฟแต่ละแก้วมีรสชาติคงที่ แถมยังเป็นร้านที่คั่วกาแฟเองอีกด้วย สำหรับเราบรรยากาศร้านนี้ให้ไปเลยหนึ่งพันคะแนนเต็มค่ะ!!!!สำหรับเมนูกาแฟมีให้เลือกค่อนข้างเยอะ แต่คนไม่กินกาแฟอย่างเราก็ต้องหาอย่างอื่นมาชิมล่ะค่ะ ลองสั่งชานมเย็น (65 บาท) ได้ชานมกลิ่นหอมเหมือนชาเย็นภาคใต้ แต่รสละมุนแบบนมๆ หน้าตาสวยงามสมกับเป็นงานชาเย็นในหอศิลป์ รสชาติไม่หวานเกินไป แต่จะให้เข้มขมสะใจเหมือนชาเย็นแบบบ้านๆ คงไม่ใช่ โดยรวมถือว่ารสชาติดีมีศิลปะค่ะเพื่อนสาวสั่งกาแฟอะไรมาสักอย่าง หน้าตาดีมีชาติตระกูลเหมือนกันค่ะ แต่ไม่ได้ชิมเองก็เลยไม่ขอเขียนรีวิวละกันเนอะ รออ่านของผู้รู้ด้านกาแฟดีกว่าค่ะ ...แอบสังเกตที่ร้านมีเค้กขายด้วยนะปล.หอศิลป์ปิดทุกวันจันทร์ ดังนั้นร้านก็เลยปิดทุกวันจันทร์ด้วยนะคะ
อ่านต่อ
แวะมาดื่มกาแฟที่หอศิลป์กับเพื่อนๆค่า หลังจากเดินดูภาพศิลปะต่างๆที่จัดแสดงไว้รอบๆเสร็จเรียบร้อยแล้วจนเริ่มเมื่อยเลยต้องหาที่นั่งพักขาซะหน่อย การเดินทาง: ถ้ามาจาก BTS สนามกีฬาทางเชื่อมจะอยู่ที่ชั้น 3 ต้องลงมาที่ขั้น1 นะคะจะเจอร้านกาแฟดริปเก๋ๆตั้งอยู่ เมนู: กาแฟดำ และ ลาเต้ค่ะ รสชาติ: อร่อยค่ะ หอมกาแฟสด มีน้ำเชื่อมแยกมาให้ใส่เองเผื่อใครไม่ชอบหวานแต่ส่วนตัวนี่เราแอบถูกใจแก้วที่ใส่เครื่องดื่มมามากกว่า ดูอาร์ตสมเป็นร้านกาแฟในหอศิลป์จริงๆจ้า
อ่านต่อ
แวะมานั่งชิวที่หอศิลป์อดไม่ได้ที่จะมาทานชาอร่อยๆค่ะวันนี้คนไม่เยอะเท่าไหร่ เลยได้เข้าไปนั่งทานที่ร้านแบบอ้อยอิ่งๆกันไปโต๊ะมีให้เลือกทั้งแบบหลบมุม โซฟาไม้ มีเบาะมีหลายแบบตามใจชอบ และตามมุมสะดวกค่ะชานมอร่อยๆมาเสิร์ฟ ไอเราก้นั่งชมวิว ชมของตกแต่งร้าน และได้กลิ่นกาแฟหอมอบอวลจนเพลินอีกแล้วเอาหละ นี่ค่ะ ชานมสุดนุ่มละมุนลิ้น มาแล้ว อร่อยค่ะ ลงตัวดี หอมชา นุ่ม สุดๆ
อ่านต่อ
นั่งมองหยดน้ำสีน้ำตาลเข้มที่ไหลผ่านจากกระดาษกรองลงสู่แก้วที่อยู่ด้านล่างทีละหยดๆ จากความ ละเมียดของคนชงกาแฟในร้านกาแฟดริปช่างเป็นการรอคอยที่แสนความละเลียดรื่นรมย์จริงๆ การชงกาแฟแบบนี้คือ “ดริป” (ไม่ผ่านแรงดันไอน้ำ) หลายคนคุ้นเคยกับการชงกาแฟแบบใช้แรงดันไอน้ำ หรือไม่ก็น้ำร้อนเทใส่แก้วกาแฟตามด้วยผงกาแฟจะจากซองหรือจากขวดกาแฟก็ตาม แล้วใช้ช้อนคนๆๆๆ การชงดริป ต้องรอ ตั้งแต่การบดที่ใช้เครื่องมือบดแบบแรงงานมนุษย์จากนั้นเทผงกาแฟที่บดแล้วในแก้วกาแฟที่รองด้วยกระดาษกรอง กระดาษเป็นกระดาษกรองกาแฟเฉพาะ ไม่ใช่กระดาษอะไรก็กรองได้ เทน้ำร้อนลงบนผงกาแฟ การเทก็ไม่ใช่เทแบบเทพรวดพราดทีเดียวหมด ค่อยๆเหยาะน้ำร้อนลงไป ภายในเวลาที่เหมาะเจาะ (ประมาณ 3 นาที) น้ำร้อนจะไหลผ่านเข้าไปในเมล็ดกาแฟ เข้าไปชะ”เสน่ห์” ที่ซุกซ่อนในเมล็ดกาแฟออกมา ผ่านกระดาษกรองลงสู่แก้วกาแฟที่รองเบื้องล่าง กระบวนแบบช้าๆได้กาแฟรสงามแบบนี้ จึงเป็นความรื่นรมย์ที่เหมาะนั่งดื่มเงียบๆ มองความรวดเร็วของสิ่งรอบตัว การได้หยุดนิ่งในบางเวลา จะช่วยให้ได้ยินตัวเองในสิ่งที่ไม่เคยได้ยินร้านกาแฟดริปในกรุงเทพฯมีร้านเดียวอยู่ชั้นล่างหอศิลปวัฒธรรมร่วมสมัยกรุงเทพฯ ตรงสี่แยกปทุมวัน เปิดทุกวันจันทร์ 10:00 – 20:00 น. ร้านนี้มีเมล็ดกาแฟหลากหลายสายพันธุ์ที่พร้อมดริปเพื่อให้คุณดื่มด่ำจากรสชาติเข้มสีดำจากทั่วมุมโลก บางวันอาจได้ระเรี่ยดื่มกาแฟรสเข้มจาก เอธิโอเปีย,จากเยเมน, จากเอลซาวาดอร์ จากโคลัมเบีย หรือจากเคนย่า บางเมืองคุณอาจไม่เคยได้ยินชื่อ ตัวเองได้ลองกาแฟ เอลซาวาดอร์นารันโจ้ รสจะออกเปรี้ยว ลองอมเพื่อดื่มด่ำรสชาติของกาแฟแล้วปล่อยผ่านไหลลงคอ จะรู้สึกว่ายังมีความซ่านของกาแฟหยอกล้อต่อมรับรสบนลิ้นค้างอยู่ เคยอ่านเจอว่า ในช่วงช่วงศตวรรษที่ 17 มีกวีไร้นามนายหนึ่งได้เขียนความนิยมของกาแฟที่เหนือกว่าเครื่องดื่มอื่นๆในเวลานั้นไว้ดังนี้ “เป็นเครื่องดื่มมีระดับบำรุงสุขภาพ ช่วยบรรเทาอาการปวดท้อง ทำให้ความคิดเฉียบแหลม ลบเลือนความทรงจำอันปวดร้าว ขจัดความเศร้าโศก กระตุ้นจิตวิญญาณโดยไม่ต้องทำให้ใครบ้า”สนใจลองไปดื่มดริปกันตามสะดวก จะว่าไปการดื่มหรือการกินไม่ต่างอะไรกับการผจญภัย ต้องกล้าที่ออกไป เจอกับมัน ลองกิน ลองดื่ม เรียนรู้เรื่องราวต่างๆจากสิ่งที่ดื่ม อาหารที่กิน แล้วจะพบว่าการผจญภัยนี่น่าตื่นเต้นเพียงใด
อ่านต่อ
คุณอาจสนใจ